>>98 จริงอยู่ว่าสิ่งมีชีวิตนั้นดิ้นรนเพื่อมีชีวิตรอดตามสัญชาตญาณ มนุษย์เองก็มีส่วนนั้นเช่นกัน
แต่สิ่งที่แตกต่างคือมนุษย์ไม่ใช่มีชีวิตไปวันๆ เหมือนพวกสัตว์ทั่วไป ที่แค่มีอาหารกินก็พอแล้ว
มนุษย์มีความต้องการที่ซับซ้อน รวมถึงรู้จักตั้งคำถามถึงตัวตนของตัวเอง
และเมื่อตั้งคำถามแล้วได้คำตอบว่าไม่อยากมีชีวิตอยู่ หรือไม่อยากเกิดมา การที่บอกให้ไปตายซะ ก็คือคำตอบที่สมเหตุสมผลที่สุดแล้ว
เพราะถ้ามึงไม่อยากจะอยู่ มึงจะทรมานอยู่ไปทำไม มึงมีสิทธิเลือกว่าจะ "อยู่" หรือ "ตาย"
อย่าไปยึดติดกับคำสอนของคนโบราณเก่าแก่ ไร้สาระ คำสอนพวกนั้นก็แค่กุศโลบายที่ทำให้มึงอยากอยู่ในโลกนี้เท่านั้นเอง
ความตายไม่ใช่เรื่องไม่ดี ความตายไม่ใช่การพ่ายแพ้ ถึงแม้ความตายจะนำความเสียใจมาให้คนรอบข้างมึง แต่ไม่นานมันก็จะผ่านไป
พวกที่คิดว่าการถูกไล่ให้ไปตายนั้นเป็นสิ่งที่แย่ แปลว่ามึงช่างอ่อนแอเหลือเกิน
อย่างที่สอง การถูกทำให้เกิดมาไม่สามารถตัดสินได้ว่า เป็นบุญคุณหรือไม่เป็นบุญคุณ
จะเป็นหรือไม่เป็น มันขึ้นอยู่กับคนๆ นั้นเองว่ารู้สึกอย่างไรที่ได้เกิดมา
ถ้ามึงไม่รู้สึกดีใจที่ได้เกิดมา มันก็ไม่เป็นบุญคุณหรอก ในทางตรงข้ามถ้ามึงรู้สึกดีใจที่ได้เกิดมา นั่นแหละบุญคุณได้เกิดขึ้นแล้ว
กูถึงถามไงว่ารู้สึกดีใจไหมที่ได้เกิดมา
เพราะต่อให้พ่อแม่มันจะแย่แค่ไหน แต่ถ้ามันรู้สึกดีใจที่ได้เกิดมา มันก็เป็นหนี้บุญคุณพ่อแม่ที่พามันมาโลกนี้แล้ว
ในทางตรงข้าม ถ้ามันไม่รู้สึกดีใจที่ได้เกิดมา ต่อให้พ่อแม่จะเลี้ยงดูมันดีแค่ไหน บุญคุณก็ไม่เกิดขึ้นกับมันหรอก
ส่วนเรื่องการเลี้ยงดูถึงจะมีกฏเกณฑ์หรือกฏหมายมาบังคับก็ไม่สำคัญอยู่ดี
เพราะสุดท้ายแล้วคนเป็นพ่อแม่ก็มีสิทธิเลือกว่าจะ "เลี้ยง" หรือ "ไม่เลี้ยง" คนที่เลือกไม่เลี้ยงก็มีให้เห็นเยอะแยะมากมายในปัจจุบัน
พวกที่มีพ่อแม่เลี้ยงมีทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต นั่นแปลว่ามันโชคดี แต่มันจะรู้สึกดีใจไหมที่โชคดี อันนี้อยู่ที่มันจะตัดสินเอง
มันไม่มีจริงหรอก คำว่าหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ถูกกำหนดอะไรนั่น เพราะสุดท้ายแล้วมนุษย์สามารถทำได้ทุกอย่างที่ขัดแย้งกับสิ่งเหล่านั้น
สิ่งที่เรียกว่าหน้าที่ มันก็แค่คำที่คนรุ่นก่อนยัดเยียดให้คนรุ่นต่อไปเท่านั้นเอง ไม่มีอะไรมากกว่านั้น
และคนรุ่นต่อไป ก็มีสิทธิเลือกเหมือนกันว่าจะ "ทำตาม" หรือ "ไม่ทำตาม"
มีสิทธิเลือกว่าจะ "สำนึกบุญคุณ" "ตอบแทนบุญคุณ" หรือ "เนรคุณ"
ยาวไป ไม่อ่าน : สิ่งที่มึงพิมพ์มา มันคือการพูดเอาแต่ได้ให้คนที่เป็นลูกได้ประโยชน์แต่ฝ่ายเดียว