กานต์ร่วมอภิปรายยุทธศาสตร์ชาติ 20 และประเด็นเรื่อง “เครดิตสังคม” หรือ Social Credit
ระบบเครดิตสังคมเป็นระบบที่ประเมินให้คะแนนประชาชนในเรื่องที่รัฐเห็นว่าสำคัญ แล้วตั้งเกณฑ์คะแนนต่างๆ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้คนไทยหันมาทำความดี ผู้ใดทำความดีสะสมเครดิตเยอะ ก็จะได้ของรางวัลในรูปแบบของอภิสิทธิ์ในบางเรื่อง เช่น การได้รับส่วนลดบริการของรัฐ แต่ถ้าหากทำไม่ดีหรือมีพฤติกรรมในทางที่รัฐเห็นว่าเป็นทางลบ ก็จะมีการลงโทษผู้กระทำ เช่น การงดหรือละเว้นการให้สิทธิใช้บริการสาธารณะหรือไม่ได้รับการพิจารณาเลื่อนตำแหน่ง การให้เหตุผลของระบบนี้มีอยู่ว่า ต้องการเป็นแรงจูงใจให้คนหันมาทำความดี
คำถามของกานต์มีประเด็นอยู่ที่ทำไม ปยป. ถึงให้ความสำคัญและเลือกดำเนินการระบบเครดิตสังคมก่อน ทั้งที่มีเรื่องอื่นๆ ที่ต้องแก้ไข และตั้งคำถามถึงโครงการเครดิตสังคมในพื้นที่นำร่องที่พบรายงานว่าได้มีการพูดคุยเพื่อหาแนวทางในระยะแรกร่วมกับ 3
ยุทธศาสตร์ชาติมีเรื่อง เครดิตสังคม ด้วยว่ะ
โม่งไม่เอา ประชาธิปไตย โม่งฝักใฝ่เผด็จการ บอร์ดโม่งเป็นบอร์ด ฟาสซิสต์ บูชา นาฮี
เลี้ยงหมูกะทะ = ซื้อเสียง
ky คิดว่าท่านรองจะรอดไหม
ระหว่างชิงลาออกไปหลบในมุมอับของก้ก
กับกูไม่ลาออก ออกแล้วจะเอาอะไรแดก รอให้ถูกปลดออก แล้วพรรคไม่ได้อะไรเลย
https://www.isranews.org/article/isranews-news/121140-isranews-1000-1000-57.html
>>974
(2)
- อะไรทำให้เกาหลีใต้ กลายเป็น 1 ในประเทศพัฒนาแล้ว และมีรายได้สูง?
- คำตอบคือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งเกาหลีใต้มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจที่เริ่มใช้ฉบับแรกคือเมื่อปี 1962
- โดยตอนนั้น รัฐบาลพยายามส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมเบา เช่น สิ่งทอ สินค้าอุปโภคบริโภค และการประกอบเฟอร์นิเจอร์
- เพราะรัฐเล็งเห็นว่า 1.) ยังต้องค่อย ๆ พัฒนาทักษะของคนขึ้นมา และ 2.)_ประเทศกำลังพัฒนา ต้องลดการพึ่งพาการนำเข้าสินค้าเหล่านี้ให้ประชาชนสามารถใช้จ่ายได้ทั่วถึง
- จะทำเกษตรก็ทำไม่ได้ เพราะภูมิประเทศของเกาหลีใต้ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ไม่เหมาะแก่การเพาะปลูก ที่ราบลุ่มซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกและตะวันออกเฉียงใต้ คิดเป็นสัดส่วนเพียง 30% ของพื้นที่ทั้งหมดเท่านั้น
- จากนั้นในปี 1966 รัฐบาลเกาหลีใต้ก็ก่อตั้ง The Korea Institute of Science and Technology (KIST) ส่งบุคคลากรออกไปเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยีที่ต่างประเทศ และรัฐบาลเองก็นำเข้าเทคโนโลยีเข้ามาใช้ทำการผลิต ต่อยอด และเพิ่มเติมจากสิ่งที่ทำมาก่อนหน้านี้
- พอเข้าปี 1970 เกาหลีใต้ก็สามารถส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมอย่างเหล็กกล้า ซึ่งสามารถต่อยอดในอุตสาหกรรมอื่น ๆ ตามมาอย่างรถยนต์, เครื่องใช้ไฟฟ้า, เรือ, ชิปคอมพิวเตอร์, ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และเคมีภัณฑ์
- และนี่ก็คือจุดเริ่มต้นของกลุ่มเจ้าสัวนายทุนในเกาหลีใต้ ที่ถูกเรียกกันว่า "แชโบล"
- "แชโบล" คือผู้เล่นหลักนอกจากรัฐบาล ที่มีส่วนผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจเกาหลีใต้จนถึงทุกวันนี้
- กลุ่มแชโบล จากที่เราตามซีรี่ย์เกาหลี หรืออ่านข่าวมา จะพบว่ามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับรัฐบาลทั้งด้านบวกและด้านลบ มีส่วนสร้างเศรษฐกิจให้เติบโต และก็มีเข้าไปพัวพันกับการทุจริตคอรัปชั่น
>>985 (3)
- เราเห็นเศรษฐกิจเกาหลีใต้โตแบบนี้ เอาเข้าจริง ๆ ประโยชน์มันไม่ได้ตกกับคนส่วนใหญ่ทั้งประเทศ
- ข้อมูลจาก World Bank ปี 2022 พบว่า 10% ของประชากรที่มีรายได้สูงสุดในเกาหลีใต้มีทรัพย์สินคิดเป็น 70% ของทรัพย์สินทั้งหมด ในขณะที่ 50% ของประชากรที่มีรายได้ต่ำสุดมีทรัพย์สินคิดเป็นเพียง 1%
- ไทยเราก็ถือว่ามีปัญหานี้ แต่ไม่หนักเท่าเกาหลีใต้นะ เพราะของไทย 10% ของประชากรที่มีรายได้สูงสุดในประเทศไทยมีทรัพย์สินคิดเป็น 60% ของทรัพย์สินทั้งหมด ในขณะที่ 50% ของประชากรที่มีรายได้ต่ำสุดมีทรัพย์สินคิดเป็นเพียง 1% ของทรัพย์สินทั้งหมด
- Poverty Rate หรือ อัตราความยากจนของเกาหลีใต้ในปี 2021 อยู่ที่ 15.1% หมายความว่ามีชาวเกาหลีใต้ประมาณ 15.1% อาศัยอยู่ด้วยรายได้ต่ำกว่าระดับความยากจน แต่ที่น่าห่วงมาก ๆ คือ ผู้สูงอายุ > 66 ปี Poverty Rate อยู่ที่ 45%
- อัตราความยากจนในเกาหลีใต้สูง มาจากหลายปัจจัย
1. ค่าใช้จ่ายในการครองชีพสูง
2. มีค่าจ้างขั้นต่ำที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาแล้วอื่น ๆ
3. และแน่นอนว่ามันมาจากการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเทียม มีแต่คนข้างบนที่อิ่ม
- Cost of Living ที่โซล อยู่อันดับ 8 ของโลกเลยนะ และด้วยความที่เกาหลีใต้ประชากรเกือบครึ่งหนึ่ง หรือราว 24 ล้านคน อาศัยอยู่ในเมืองหลวงและเขตปริมณฑล เนื่องจากที่ดินส่วนใหญ่ของประเทศไม่เอื้ออำนวย เลยทำให้ความเจริญกระจุกตัว และยิ่งทำให้การแข่งขันในด้านแรงงานยิ่งสูงขึ้นไปอีก
ไม่ต้องทะเลาะกัน ยังไงก็โดน รปห อยู่ดีไม่ช้าก็เร็ว อิอิ
>>985 ของไทยโดน NGO ประท้วงต่อต้านโรงถลุงเหล็กของ สหวิริยา จนทุกวันนี้ต้องนำเข้าเหล็กแพง มาหลอมทำเหล็กรูปพรรณ สหวิริยาไม่ได้เกิด โดนต่างชาติฮุบไป บริษัทเหล็กในประเทศอยู่ไม่ได้ ต้องขายให้ญี่ปุ่น อินเดีย เกาหลี
ภาคการเกษตร นโยบายสร้างความมั่นคงทางด้านเกษตร กู้เงินกลุ่มอาเซียนเพื่อผลิตปุ๋ยเองโดยสร้างรัฐวิสาหกิจปุ๋ยแห่งชาตินำเข้าแอมโมเนีย มาผลิตปุ๋ยจากโปแตสที่มีในประเทศถูก NGO ต่อต้านอย่างหนัก จนทุกวันนี้ไทยต้องนำเข้าหัวเชื้อปุ๋ยต้นทุนการเกษตรถูกกำหนดโดยบริษัทปุ๋ยข้ามชาติ
คนที่คุม NGO สิ่งแวดล้อมมาตั้งแต่ยุคแรกๆคือเสี่ยนิคปะวะ เห็นมันลงทุนด้านพลังงานลม
ยังไงประเทดก้อต้องการผุ้นำแข็งแกร่งสง่างามและทรงเกียตแบบลุงตุ่
เห้นมั้ยลุงตุ่อยุ่บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเสดถะกิจดี
ทักสินยังไม่ได้ครึ่งลุงตุ่ พิทาไม่ต้องพุดถึงคนละชั้น
"คนดีๆเขาไม่เป็นหรอกNGOนะ"
วันที่22 9โมง แม้วถึงดอนเมืองว่ะ ถึงคุกกี่โมง ถึงบ้านกี่โมงดีเนี่ย
เรื่อง ngo กับทุน มันเป็นการปะทะกันของ 2 แนวคิด
ให้ทุนใหญ่โตแล้วเชื่อว่าจะเกิดการจ้างงานได้มาก และรัฐควบคุมง่ายทั้งการเก็บภาษีและหารือออกนโยบายต่างๆ vs ให้รายย่อยอยู่ได้มากๆ เพื่อให้สังคมเหลื่อมล้ำน้อยๆ
มันแค่นี้แหละ
ปิดมู้พอดี ตั้งชื่อมู้ใหม่ด้วยนะ
Topic has reached maximum number of posts.
Please start a new topic.
Be Civil — "Be curious, not judgemental"
All contents are responsibility of its posters.