คันปากอยากพูดชิบหาย เอางี้กูขอแจมหน่อย
Agreement พวกนี้เป็นที่รู้กันว่าต้องตั้งให้ tight เข้าใว้เพราะลอว์เยอร์ที่มาดีลมาอ่านมันเป็นฝรั่ง เป็นกึ่งๆเอเยนซี่ มันไม่ได้รู้ห่าอะไรกับการทำงานในด้านหนังสือหรอก
เอกสารข้อตกลงพวกนี้เวลาจะทำกันจะต้องเขียนเป็นภาษาอังกฤษแล้วพวกมึงก็น่าจะรู้ว่าไอ้ยุ่นน่ะแม่ง "Engrish" ชิบหาย มันถึงต้องจ้างฝรั่งมาเป็นตัวกลางแปลเอกสารเป็นสากลเวลามีการเคลมกลับในเรื่องลิขสิทธิ์หรือขอบเขตในการจัดการมันจะได้ชัดเจนไม่ซ้ำรอยเหมือนหลาย ๆ กรณีอย่างโรโบเทค
แล้วใน Agreement น่ะจริงอยู่ที่มันเปลี่ยนหรือแก้ไม่ได้แต่มันมีช่องทางให้ Remark ได้ว่าในหัวข้อนี้คุณสามารถทำได้หรือเปล่า ถ้าไม่ได้คุณทำได้ระดับใหน จากนั้นจะมีการส่งและตีความกันอีกทีก่อนจะให้ตัวแทนทั้งคู่ Sign Accept agreement แล้วก็อปปี้แจกจ่ายใว้อ้างอิงเก็บเล่มจริงใว้ในส่วนงานกฏหมายเวลามีปัญหาก็มาถกกัน
แล้วทีนี้ในส่วนของ International product specification control มันต้องดูด้วยว่าตัวเอกสารที่รัดน่ะมันมีจุด Refer to responsibility or claim and complaint หรือเปล่า ถ้ามีต้องรู้ว่าจุดที่อ้างอิงไปให้จัดการยังไง มีหมายเหตุใหม ถ้าหมายเหตุยังอยู่ในของค่ายของโลคอลต่อให้มึงดิ้นรนโวยวายมึงก็ทำอะไร สนพ. ไม่ได้หรอก ต่อให้ฟ้องจนเป็นข่าวเป็นหัวข้อในเน็ตให้ญี่ปุ่นออกมาเตือนแต่ยังมีหมายเหตุในสัญญากันเอาใว้มันก็ทำได้แค่จัดฉาก
โอเค กูพูดมากไปแล้ว โม่งกูคงไม่แตกนะ